สรุปสถานการณ์ไวรัสโคโรน่า 2019
📍 สถานการณ์ในประเทศไทย
- 🔺 เพิ่ม ผู้ป่วยยืนยันราย 54 ราย พบใน 67 จังหวัด แบ่งเป็น 3 กลุ่ม
ผู้ป่วยยืนยัน (รายที่ 2,370 – 2,423)
🔸 เพิ่ม ผู้ป่วยหายกลับบ้าน 52 ราย
🔸 เพิ่ม ผู้ป่วยเสียชีวิต 2 ราย
▪️ รายที่ 1 ผู้เสียชีวิต ชายชาวฝรั่งเศส อายุ 74 ปี ไม่มีโรคประจำตัว
- วันที่ 27 มี.ค. 2563 เริ่มมีอาการป่วยไข้ ไอ เหนื่อย และปวดท้อง ได้เข้าโรงพยาบาลแห่งหนึ่งในชลบุรี และได้ทำการเอ็กซเรย์ปอดพบว่าปอดอักเสบ และพบว่าติดเชื้อไวรัสโควิด-19
- วันที่ 7 เม.ย. 2563 มีอาการหอบเหนื่อยมากขึ้น ต้องใส่ท่อช่วยหายใจ
- วันที่ 7 เม.ย. 2563 ได้เสียชีวิต
▪️ รายที่ 2 ผู้เสียชีวิต ชายไทย อายุ 82 ปี
- วันที่ 25 มี.ค. 2563 เริ่มมีอาการป่วยไข้ 38.5 ไอ เหนื่อย รักษาในโรงพยาบาลแห่งหนึ่งในสมุทรปราการ
- วันที่ 30 มี.ค. 2563 มีอาการเหนื่อยมากขึ้น แพทย์ต้องใส่ท่อช่วยหายใจ ต่อมาอาการไม่ดีขึ้นและไม่รู้สึกตัว
- วันที่ 8 เม.ย. 2563 ได้เสียชีวิต
🔸 กลุ่มที่ 1 มีประวัติสัมผัสผู้ป่วย หรือ สถานที่ที่พบผู้ป่วยก่อนหน้านี้ (จำนวน 22 ราย)
▪️ สัมผัสใกล้ชิดกับผู้ป่วยยืนยันรายก่อนหน้านี้ จำนวน 22 ราย
(ส่วนใหญ่เป็นกรุงเทพฯ 11 ราย)
▪️ สนามมวย 0 ราย
▪️ สถานบันเทิง จำนวน 0 ราย
▪️ พิธีกรรมทางศาสนา จำนวน 0 ราย
🔸 กลุ่มที่ 2 ผู้ป่วยรายใหม่ (จำนวน 26 ราย)
▪️ เดินทางมาจากอินโดนีเซีย (เข้าสถานที่กักกันโรค State Quarantine) จำนวน 5 ราย
▪️ เดินทางกลับมาจากต่างประเทศ จำนวน 5 ราย
- คนไทย 3 ราย
- ชาวต่างชาติ 2 ราย
▪️ ไปสถานที่ชุมนุมชน จำนวน 4 ราย
▪️ บคลากรทางการแพทย์ จำนวน 4 ราย
▪️ อาชีพเสี่ยง จำนวน 8 ราย
🔸 กลุ่มที่ 3 ได้รับผลแล็บยืนยันว่า “พบเชื้อแล้ว” (จำนวน 6 ราย)
แต่ยังอยู่ในระหว่างสอบประวัติและการสอบสวนโรค
▪️ พื้นที่ที่พบผู้ป่วยวันนี้ 54 ราย
- กรุงเทพฯ 21 ราย
- ปัตตานี 11 ราย
- ชลบุรี 3 ราย
- ปทุมธานี 3 ราย
- ภูเก็ต 3 ราย
- ยะลา 2 ราย
- เชียงใหม่ 1 ราย
- ชัยภูมิ 1 ราย
- ตรัง 1 ราย
- นครสรรค์ 1 ราย
- นนทบุรี 1 ราย
- นราธิวาส 1 ราย
- พัทลุง 1 ราย
- พิษณุโลก 1 ราย
- ลำปาง 1 ราย
- สมุทรปราการ 1 ราย
- อยู่ระหว่างการสอบสวน 1 ราย
🔹 รวมผู้ป่วยหายกลับบ้าน 940 ราย
🔹 รวมผู้ป่วยรักษาในโรงพยาบาล 1,451 ราย
🔹 รวมผู้ป่วยเสียชีวิต 32 ราย
🔹 ผู้ป่วยสะสม 2,423 ราย
▪️ พบผู้ป่วยพื้นที่ กรุงเทพฯ 51% ต่างจังหวัด 46% รอยืนยัน 3%
▪️ 10 อันดับ จังหวัดที่พบผู้ป่วย 2,423 ราย 67 จังหวัด
- กรุงเทพฯ 1,242 ราย
- ภูเก็ต 161 ราย
- นนทบุรี 142 ราย
- สมุทรปราการ 103 ราย
- ชลบุรี 73 ราย
- ยะลา 70 ราย
- ปัตตานี 66 ราย
- สงขลา 47 ราย
- เชียงใหม่ 40 ราย
- ปทุมธานี 30 ราย
- อยู่ระหว่างสอบสวน 75 ราย
▪️ 10 อันดับ (อัตราการป่วยสูงสุด) จังหวัดที่พบผู้ป่วย 2,423 ราย 67 จังหวัด
▪️ จังหวัด : ต่อประชากร 1 แสนคน
- ภูเก็ต : 38.95
- กรุงเทพฯ : 21.90
- ยะลา : 13.10
- นนทบุรี : 11.31
- ปัตตานี : 9.15
- สมุทรปราการ : 7.79
- สตูล (จากอินโดนีเซีย) : 4.96
- ชลบุรี : 4.72
- กระบี่ : 3.58
- สงขลา : 3.28
▪️ 10 จังหวัดที่ยังไม่พบผู้ป่วย (ขอชื่นชมจากใจ) 👏❤️
- กำแพงเพชร
- ชัยนาท
- ตราด
- น่าน
- บึงกาฬ
- พังงา
- พิจิตร
- ระนอง
- สิงห์บุรี
- อ่างทอง
▪️ พื่นที่พบผู้ป่วยสะสม
- กรุงเทพฯและนนทบุรี 1,271 ราย
- ภาคกลาง 339 ราย
- ภาคใต้ 447 ราย
- ภาคอีสาน 102 ราย
- เหนือ 90 ราย
▪️ อายุเฉลี่ย
- อายุน้อยสุด 1 เดือน
- อายุมากสุด 86 ปี
- เฉลี่ยอายุ 39 ปี
▪️ สูงสุดในกลุ่มอายุ
- อายุ 20-29 ปี
- จำนวน 568 ราย
▪️ เพศ
- ชาย 1,252
- หญิง 1,077
📍 บุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุข ที่ติดเชื้อโควิด-19
(เดือนมกราคม 2563 – 8 เมษายน 2563)
- สะสม 80 ราย (3.4% ของผู้ป่วยทั้งหมด)
- ติดในโรงพยาบาล 50 ราย (ผู้ป่วยนอก ผู้ป่วยใน แผนกฉุกเฉิน ทันตกรรม ห้องปฏิบัติการ พนักงานสนับสนุน)
- ติดในชุมชน 18 ราย
- อยู่ระหว่างสอบสวน 12 ราย
▪️ แยกวิชาชีพ
- พยาบาล ผู้ช่วยพยาบาล 36 ราย
- แพทย์ 16 ราย
- เภสัชกร ผู้ช่วยเภสัชกร เจ้าพนักงานเภสัชกร 2 ราย
- ทันตแพทย์ ผู้ช่วยทันตแพทย์ เจ้าพนักงานทันตแพทย์ 2 ราย
- เจ้าหน้าที่ห้องปฏิบัติการ 1 ราย
- อื่นๆ 10 ราย
- ไม่ระบุ 13 ราย
📍 เรื่องวันสงกรานต์
- งดเว้นจัดงานสงกรานต์ในทุกระดับ
- งดเว้นเดินทางกลับภูมิลำเนา
- งดเว้นขอพรผู้ใหญ่ในทุกกรณี (ผู้สูงอายุ คือ กลุ่มเสี่ยงที่เสียชีวิต)
- งดร่วมกิจกรรมรวมตัวคนหมู่มาก
📍 จังหวัดชลบุรี
- ประกาศปิดเมืองพัทยา ตั้งแต่เวลา 14.00 น. วันที่ 9 เม.ย. 2563 เป็นต้นไป
- ระยะเวลา 21 วัน
- ปิดทางเข้า-ออก เมืองพัทยา เหลือ 5 จุด ตรวจคุมเข้มทุกจุด
📍 จังหวัดบึงกาฬ (หนึ่งเดียวในภาคอีสาน) ที่ยังไม่พบผู้ติดเชื้อโควิด-19
- ประกาศปิดเมือง ตั้งแต่วันที่ 7-30 เม.ย. 2563
- ยกเว้นเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานด้านสาธารณสุข, ขนส่งสินค้าของกิน ของใช้, การเกษตร, ปศุสัตว์, อาหารสัตว์, แก๊สหุงต้ม, น้ำมันเชื้อเพลิง, ไปรษณีย์, ขนส่งอุปกรณ์ทางการแพทย์