ภาษาอีสาน ภาษาท้องถิ่นของประเทศไทย ที่มีคำพูดเป็นเอกลักษณ์ และมีเสน่ห์ในตัวเอง วันนี้เราจะมาเรียนรู้เกี่ยวกับชื่อผักผลไม้ แต่ละชนิดว่าภาษาอีสานเขาเรียกกันว่าอย่างไร เหมือนหรือต่างกับภาษากลางมากน้อยขนาดไหนต้องติดตาม เวลาเราไปเที่ยวซื้อของในตลาดภาคอีสาน จะได้เรียกชื่อผักผลไม้ได้เข้าใจมากขึ้น
ชื่อผักผลไม้ ภาษาอีสาน เอิ้นว่าอีหยัง?
ผลไม้
บักอึ = ฟักทอง
บักขาม = มะขาม
บักเขียบ = น้อยหน่า
บักมี่ = ขนุน
บักส้มโอ = ส้มโอ
บักกะทกล้ก = เสาวรส
บักกะท้อน = กะท้อน
บักทัน = พุทรา
บักกอกน้ำ = มะกอกน้ำ
บักเขียบ= น้อยหน่า
บักพร้าว = มะพร้าว
บักเฟื่อง = มะเฟื่อง
บักแตงโม = แตงโม
บักม่วง = มะม่วง
บักสีดา = ฝรั่ง
บักนัด = สัปปะรด
หมากขามแป = มะขามเทศ
ก้วยอีออง = กล้วยน้ำว้า
หมากพิลา = ทับทิม
……
ผัก
ผักขา = ชะอม
มะเขือเครือ = มะเขือเทศสีดา
บักหุ่ง = มะละกอ
หอบเป = ผักชีฝรั่ง
บักกอก = มะกอก
ผักอีเลิด = ชะพลู
ผักอีตู่ = ใบแมงลัก
ผักอีตู่ไทย = กะเพรา
ผักอีฮุม = มะรุม
ผักบัวละพา = โหระพา
ผักไซ = มะระขี้นก
หัวสิงไค = ตะไคร้
ผักบั่ว = ต้นหอม
ผักขะแยง = กระออม
ผักตำนิน = ผักตำลึง
ผักหม = ผักโขม
ผักหนอก = ใบบัวบก
ใบบักหูด = ใบมะกรูด
บักลิ้นฟ้า = เพกา
ส้มโมง = ชะมวง
ผักคึ่นไช่ = ขึ้นฉ่าย
ส่ม ภัค เสี่ยน = ผักเสี้ยนดอง
หมากกะเสด = กระถิน
บักแข้ง = มะเขือพวง
บักเขียขื๊น = มะเขือเปราะ
บักแตง = แตงกวา